top of page
วิธีรักษาปานแดง/ปานดำ/ปานโอตะ

ขึ้นอยู่กับความลึกและสาเหตุ โดยวิธีการรักษาในปัจจุบัน ได้แก่

1. การทายาและทาครีม (Bleaching Cream) เป็นครีมที่ลดการทำงานของเม็ดสี ทำให้เม็ดสีทำงานน้อยลง จึงส่งผลให้รอยดำค่อยๆ จางลง

2. การใช้สารเคมีลอกหน้า (Chemical Peeling) สารเคมีที่ทำ

นำมาใช้ในการลอกหน้าเป็นสารเคมีทางการแพทย์ เรียกว่Trichloroacetic acid ซึ่งเป็นกรดอ่อนๆ มีเปอร์เซ็นต์ตั้งแต่ 20-100 เปอร์เซ็นต์ ใช้ในการลอกฝ้าอย่างอ่อนๆ เพื่อให้ฝ้าค่อยๆ จางหลุดออกไป โดยเปอร์เซ็นต์ที่เหมาะสมคือ 20 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากฝ้าเป็นเม็ดสีที่อยู่ตื้น ดังนั้น การลอกจึงได้ผลดีและมักไม่มีแผลเป็นเกิดขึ้น

3. การใช้เลเซอร์ (Laser Treatment) เป็นการใช้เลเซอร์ในกลุ่ม Q-Switch มารักษา ซึ่งใช้ได้ดีในการรักษาโรคของเม็ดสีดำ ได้แก่ รูบีเลเซอร์ (Ruby Laser) คิว-สวิทช์-เอ็น-ดี-แยค

(Q-switched Nd:YAG) และอเล็กซานไดร์ท เลเซฮร์ (Alexandite Laser) โดยหลักการทำงานของเลเซอร์คือ เมื่อยิงเลเซอร์ลงไปบนรอยดำ พลังงานเลเซอร์จะถูกดูดซึม โดยเม็ดสีในผิวหนังที่เรียกว่าเมลาโนโซม (Melanosom) เมื่อเมลาโนโซมรับพลังงานเลเซอร์เข้าไป จะทำให้เกิดความร้อน แตกทำลายตัวเอและตายไปในที่สุด โดยที่ไม่มีการทำลายเซลล์ที่เป็นปกติบริเวณรอบๆ รอยดำนั้น โดยก่อนการรักษาไม่ควรโดนแดดมาก

รักษาปานแดง/ปานดำ/ปานโอตะ

ปาน เป็นความผิดปกติของผิวหนังอย่างหนึ่งที่มักจะปรากฏตั้งแต่เกิดแล้วค่ะ แต่ปานบางชนิดก็อาจจะเพิ่งปรากฏรอยในช่วงวัยเด็กหรือวัยรุ่นก็ได้ มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ สามารถเกิดขึ้นได้ทั่วร่างกาย โดยทั่วไปแล้วปานจะขยายขนาดหรือโตขึ้นเรื่อย ๆ อย่างช้า ๆ ปานมีด้วยกันหลายชนิด แต่ปานที่พบกันบ่อย ได้แก่ ปานดำ มีลักษณะเป็นผืนราบสีน้ำตาลอ่อนหรือเข้ม ขอบชัดขออาจจะเรียบหรือหยักก็ได้ มีขนาดตั้งแต่ 2 -20 เซนติเมตร มักพบตั้งแต่แรกเกิด ถ้าพบว่ามีจำนวนมากกว่า 5 – 6 แห่ง ก็อาจมีความผิดปกติอื่นร่วมด้วย เช่น ทางระบบประสาท โครงกระดูก เป็นต้น ยังมีปานดำอีกแบบหนึ่งซึ่งมีสีดำเข้มและมีขน ซึ่งอันที่จริงจัดเป็นไฝชนิดหนึ่ง พบตั้งแต่แรกเกิดเช่นกัน ถ้ามีขนาดใหญ่มากควรไปให้หมอผ่าตัดออก เพราะอาจกลายเป็นมะเร็งได้ค่ะ

รักษาปานแดง/ปานดำ/ปานโอตะ

ปาน เป็นความผิดปกติของผิวหนังอย่างหนึ่งที่มักจะปรากฏตั้งแต่เกิดแล้วค่ะ แต่ปานบางชนิดก็อาจจะเพิ่งปรากฏรอยในช่วงวัยเด็กหรือวัยรุ่นก็ได้ มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ สามารถเกิดขึ้นได้ทั่วร่างกาย โดยทั่วไปแล้วปานจะขยายขนาดหรือโตขึ้นเรื่อย ๆ อย่างช้า ๆ ปานมีด้วยกันหลายชนิด แต่ปานที่พบกันบ่อย ได้แก่ ปานดำ มีลักษณะเป็นผืนราบสีน้ำตาลอ่อนหรือเข้ม ขอบชัดขอบอาจจะเรียบหรือหยักก็ได้ มีขนาดตั้งแต่ 2 -20 เซนติเมตร มักพบตั้งแต่แรกเกิด ถ้าพบว่ามีจำนวนมากกว่า 5 – 6 แห่ง ก็อาจมีความผิดปกติอื่นร่วมด้วย เช่น ทางระบบประสาท โครงกระดูก เป็นต้น ยังมีปานดำอีกแบบหนึ่งซึ่งมีสีดำเข้มและมีขน ซึ่งอันที่จริงจัดเป็นไฝชนิดหนึ่ง พบตั้งแต่แรกเกิดเช่นกัน ถ้ามีขนาดใหญ่มากควรไปให้หมอผ่าตัดออก เพราะอาจกลายเป็นมะเร็งได้ค่ะ

รักษาปาน ติ่งเนื้อ เส้นเลือดฝอย
รักษาปานแดง/ปานดำ/ปานโอตะ

ปาน เป็นความผิดปกติของผิวหนังอย่างหนึ่งที่มักจะปรากฏตั้งแต่เกิดแล้วค่ะ แต่ปานบางชนิดก็อาจจะเพิ่งปรากฏรอยในช่วงวัยเด็กหรือวัยรุ่นก็ได้ มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ สามารถเกิดขึ้นได้ทั่วร่างกาย โดยทั่วไปแล้วปานจะขยายขนาดหรือโตขึ้นเรื่อย ๆ อย่างช้า ๆ ปานมีด้วยกันหลายชนิด แต่ปานที่พบกันบ่อย ได้แก่ ปานดำ มีลักษณะเป็นผืนราบสีน้ำตาลอ่อนหรือเข้ม ขอบชัดขอบอาจจะเรียบหรือหยักก็ได้ มีขนาดตั้งแต่ 2 -20 เซนติเมตร มักพบตั้งแต่แรกเกิด ถ้าพบว่ามีจำนวนมากกว่า 5 – 6 แห่ง ก็อาจมีความผิดปกติอื่นร่วมด้วย เช่น ทางระบบประสาท โครงกระดูก เป็นต้น ยังมีปานดำอีกแบบหนึ่งซึ่งมีสีดำเข้มและมีขน ซึ่งอันที่จริงจัดเป็นไฝชนิดหนึ่ง พบตั้งแต่แรกเกิดเช่นกัน ถ้ามีขนาดใหญ่มากควรไปให้หมอผ่าตัดออก เพราะอาจกลายเป็นมะเร็งได้ค่ะ

ปานแดง

มีลักษณะเป็นปื้นสีแดงเกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดในชั้นหนังแท้ มักเป็นตั้งแต่แรกเกิด บางชนิดจะมีสีเข้มขึ้นเป็นแดงเข้มหรือม่วง และหนานูนขึ้นได้เมื่ออายุมากขึ้น อาจพบร่วมกับความผิดปกติอื่นในร่างกายได้เช่นกัน สำหรับคนที่เป็นควรไปหาหมอเพื่อปรึกษาและทำการรักษาต่อไป

ปานโอตะ

เป็นจุดคล้ายกระ สีน้ำเงินอมเขียวหรือเทา มักพบที่หน้าและจะเป็นเพียงข้างเดียว อาจพบจุดรีแบบเดียวกันนี้ในเยื่อบุตาขาวด้วยก็ได้ ส่วนใหญ่เป็นตั้งแต่แรกเกิด แต่อาจพบในช่วงวัยเด็กหรือวัยรุ่นก็ได้

ปานโอตะ

เป็นจุดคล้ายกระ สีน้ำเงินอมเขียวหรือเทา มักพบที่หน้าและจะเป็นเพียงข้างเดียว อาจพบจุดรีแบบเดียวกันนี้ในเยื่อบุตาขาวด้วยก็ได้ ส่วนใหญ่เป็นตั้งแต่แรกเกิด แต่อาจพบในช่วงวัยเด็ก หรือวัยรุ่นก็ได้

วิธีรักษาปานแดง/ปานดำ/ปานโอตะ

ขึ้นอยู่กับความลึกและสาเหตุ โดยวิธีการรักษาในปัจจุบัน ได้แก่

1. การทายาและทาครีม (Bleaching Cream) เป็นครีมที่ลดการทำงานของเม็ดสี ทำให้เม็ดสีทำงานน้อยลง จึงส่งผลให้รอยดำค่อยๆ จางลง

2. การใช้สารเคมีลอกหน้า (Chemical Peeling) สารเคมีที่ทำนำมาใช้ในการลอกหน้าเป็นสารเคมีทางการแพทย์ เรียกว่า Trichloroacetic acid ซึ่งเป็นกรดอ่อนๆ มีเปอร์เซ็นต์ตั้งแต่ 20-100 เปอร์เซ็นต์ ใช้ในการลอกฝ้าอย่างอ่อนๆ เพื่อให้ฝ้าค่อยๆ จางหลุดออกไป โดยเปอร์เซ็นต์ที่เหมาะสมคือ 20 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากฝ้าเป็นเม็ดสีที่อยู่ตื้น ดังนั้น การลอกจึงได้ผลดีและมักไม่มีแผลเป็นเกิดขึ้น

3. การใช้เลเซอร์ (Laser Treatment) เป็นการใช้เลเซอร์ในกลุ่ม Q-Switch มารักษา ซึ่งใช้ได้ดีในการรักษาโรคของเม็ดสีดำ ได้แก่ รูบีเลเซอร์ (Ruby Laser) คิว-สวิทช์-เอ็น-ดี-แยค (Q-switched Nd:YAG) และอเล็กซานไดร์ท เลเซฮร์ (Alexandite Laser) โดยหลักการทำงานของเลเซอร์คือ เมื่อยิงเลเซอร์ลงไปบนรอยดำ พลังงานเลเซอร์จะถูกดูดซึม โดยเม็ดสีในผิวหนังที่เรียกว่าเมลาโนโซม (Melanosom) เมื่อเมลาโนโซมรับพลังงานเลเซอร์เข้าไป จะทำให้เกิดความร้อน แตกทำลายตัวเอง และตายไปในที่สุด โดยที่ไม่มีการทำลายเซลล์ที่เป็นปกติบริเวณรอบๆ รอยดำนั้น โดยก่อนการรักษาไม่ควรโดนแดดมาก

bottom of page